The smart Trick of ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา That Nobody is Discussing
The smart Trick of ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา That Nobody is Discussing
Blog Article
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ นโยบายคุกกี้ และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ความเหลื่อมล้ำของคุณภาพการศึกษาระหว่างโรงเรียนขนาดใหญ่-ขนาดเล็ก:
ความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษาระหว่างภูมิภาคในประเทศไทย:
กลไกท้องถิ่น คนในพื้นที่มักมีเครือข่ายหรือความสัมพันธ์อันดีกับองค์กรส่วนท้องถิ่น เช่น อบต. ดร.ศุภโชคยกตัวอย่างว่าในกรณีอื่นๆ อย่างเกิดพายุฤดูร้อน หลังคาบ้านเรือนปลิวเสียหาย อบต.สามารถส่งกระเบื้องมาช่วยได้ทันที แต่เมื่อเป็นโรงเรียน ทางโรงเรียนกลับต้องขอเงินไปยังส่วนกลางก่อน กว่าจะได้เงินมา หลังคาก็เปิด เพดานพังหมดแล้ว องค์กรท้องถิ่นไม่สามารถเข้ามาช่วยได้เพราะผิดระเบียบ การปลดล็อกกติกาบางอย่างให้ท้องถิ่นกับโรงเรียนสามารถช่วยเหลือพึ่งพากันได้ จะทำให้แก้ปัญหาเฉพาะในพื้นที่ได้ทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ
เพราะการเรียนรู้ทำให้เกิดศักยภาพการสอนที่เพิ่มมากขึ้น
ปัญหาความเหลื่อมล้ำเป็นปัญหาที่ซับซ้อนและเป็นปัญหารากฐานที่สำคัญอย่างหนึ่งของสังคมไทย โดยเฉพาะเรื่อง “การศึกษา” ที่เป็นปัญหาเรื้อรังมาอย่างยาวนาน เราต่างรู้กันดีว่า “การศึกษา” คือโอกาสที่สามารถช่วยให้คนยกระดับคุณภาพชีวิตในระยะยาวได้ แต่ในทางกลับกันในประเทศไทยก็ยังมีคนที่เข้าไม่ถึงการศึกษา โดยเฉพาะเด็กๆ ในพื้นที่ห่างไกล เพราะติดกับดักความยากจนเข้ามาซ้ำเติมแม้จะมีนโยบายเรียนฟรี แต่เด็กจำนวนไม่น้อยก็ยังขาดแคลนทุนทรัพย์สำหรับค่าเล่าเรียนและค่าเดินทาง
Usually Enabled Vital cookies are Totally important for the website to function thoroughly. These cookies ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา make certain essential functionalities and security features of the website, anonymously.
สังคมไทยยังคงเป็นสังคมที่ให้ความสำคัญ และให้คุณค่ากับการเรียนการสอนในเชิงทักษะทางด้านวิชาการมากกว่าทักษะทางด้านสังคม รวมถึงระยะเวลาที่ยาวนานในการเล่าเรียน จึงทำให้เยาวชนขาดทักษะทางด้านสังคม ขาดการเรียนรู้เพื่อการเสริมสร้างทักษะชีวิต และสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้คน ทำให้แม้ว่าจะมีความรู้ และทักษะที่ดีในเชิงวิชาการ แต่กลับไม่สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
เมื่อการศึกษาที่ควรจะเป็นรากฐานสำคัญเพื่อเปลี่ยนชีวิต กลับกลายเป็นจุดเริ่มต้นของความเหลื่อมล้ำและความไม่เสมอภาค จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจะต้องเข้ามาพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการศึกษา ปรับระบบให้เข้ากับความเปลี่ยนแปลงของโลก รวมถึงออกนโยบายต่างๆ เพื่อช่วยเหลือกลุ่มเด็กที่ยังถูกทิ้งไว้ข้างหลัง เพื่อให้การศึกษาเป็นประตูสู่โอกาสแห่งความเสมอภาคที่แท้จริง
) และภาคประชาสังคม,กลุ่มภาครัฐ,กลุ่มภาคประชาสังคมและภาครัฐ, กลุ่มภาคประชาสังคม และกลุ่มภาควิชาการ โดยแต่ละกลุ่มมีข้อโดดเด่นและเงื่อนไขในการทำงานแตกต่างกันไป
แผนการดำเนินงานและการใช้งบประมาณประจำปี
iSEE ฐานข้อมูลเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา
ดร.ศุภโชคยังชี้ให้เห็นปัญหาเรื่องคน งบประมาณ และกลไกท้องถิ่น โดยเสนอแนวทางแก้ไขควบคู่กันไป ดังนี้
เพราะแต่ละพื้นที่มีบริบทแตกต่างกันและโครงสร้างต้นตอของปัญหาก็ไม่เหมือนกัน การแก้ปัญหา “ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา” จึงต้องแก้ที่พื้นที่